หน้าหลัก » หนังสือ » BlockChain for Government Services – การใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนสําหรับภาครัฐ V 2.0

BlockChain for Government Services – การใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนสําหรับภาครัฐ V 2.0



จำนวนหน้า :
192
ขนาดไฟล์ :
26.2 MB
ชนิดไฟล์ :
Portable Document Format (PDF)
จัดทำโดย :
สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) (สพร.)
ที่มา/เว็บไซต์ :
https://www.dga.or.th/document-sharing/dga-e-book/annual-blockchain/47115/
หมวดหมู่ :

หนังสือ BlockChain for Government Services – การใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนสําหรับภาครัฐ เวอร์ชัน 2.0 (มกราคม 2564)

เนื้อหา

  • คำนำ
  • อภิธานศัพท์
  • บทที่ 1 บทนำ
    • เทคโนโลยี Blockchain
    • หลักการทำงานของเทคโนโลยี Blockchain
    • องค์ประกอบของเทคโนโลยี Blockchain
    • ประเภทของ Blockchain
    • คุณลักษณะพื้นฐานที่สำคัญของเทคโนโลยี Blockchain
      • ความถูกต้องเที่ยงตรงของข้อมูล (Data Integrity)
      • ความโปร่งใสในการเข้าถึงข้อมูล (Data Transparency)
      • ความสามารถในการทำงานได้อย่างต่อเนื่องของระบบ (Availability)
    • เกณฑ์การพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยี Blockchain
    • รูปแบบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain
      • เงินดิจิทัล (Cryptocurrency)
      • บริการพิสูจน์ทราบ (Proof of Services)
      • สัญญาอัจฉริยะ (Smart Contract)
      • ระบบ/บริการอัตโนมัติ (Decentralized Autonomous Systems/Services)
  • บทที่ 2 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain เพื่องานบริการภาครัฐ กรณีศึกษาต่างประเทศ
    • การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain เพื่องานบริการภาครัฐ กรณีศึกษาต่างประเทศ
    • ประโยชน์ของการนำเทคโนโลยี Blockchain มาใช้สำหรับงานบริการภาครัฐ
    • ข้อจำกัดของการนำเทคโนโลยี Blockchain มาใช้เพื่องานบริการภาครัฐ
    • รูปแบบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain เพื่องานบริการภาครัฐ
      • • การพิสูจน์ตัวตน (Identity Management)
      • การบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูล (Data Record Management)
      • การติดตามธุรกรรม (Transaction Traceability)
    • ปัจจัยความสำเร็จในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain เพื่องานบริการภาครัฐ
      • การจัดตั้งคณะทำงานแห่งชาติ (The National Blockchain Council)
      • การสร้างระบบนิเวศของเทคโนโลยี Blockchain (Blockchain Ecosystem)
      • การสร้างการกำกับดูแลการใช้งานเทคโนโลยี Blockchain (Blockchain Governance)
      • การกำหนดมาตรฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยี Blockchain
      • การพัฒนาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยี Blockchain
  • บทที่ 3 แนวคิดและหลักการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain สำหรับภาครัฐ ภายใต้บริบทของประเทศไทย
    • หลักการและเหตุผลการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain สำหรับภาครัฐไทย
    • การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Blockchain เพื่อการบูรณาการบริการ และแลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐ
    • กรณีศึกษาการจัดทำระบบต้นแบบ e-Referral โดยใช้เทคโนโลยี Blockchain
  • เอกสารแนบท้าย 1

แนะนำ

ล่าสุด

ยอดนิยม