หน้าหลัก » รายงาน » รายงานการศึกษา การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong learning) เพื่อรองรับการพลิกโฉมฉับพลันและวิกฤตการณ์โลก

รายงานการศึกษา การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong learning) เพื่อรองรับการพลิกโฉมฉับพลันและวิกฤตการณ์โลก



จำนวนหน้า :
209
ขนาดไฟล์ :
7.03 MB
ชนิดไฟล์ :
Portable Document Format (PDF)
จัดทำโดย :
สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.)
ที่มา/เว็บไซต์ :
https://www.nxpo.or.th/th/report/9519/
หมวดหมู่ :

เนื้อหา

  • คำนำ
  • บทสรุปผู้บริหาร
  • บทที่ 1 : บทนำ
    • 1.1 สถานการณ์ของโลก
      • 1.1.1 วิถีชีวิตแบบหลายช่วง (Multistage life)
      • 1.1.2 การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี (Disruptive technology)
      • 1.1.3 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร (Demographic change)
      • 1.1.4 สถานการณ์ช่วงชิงแรงงานทักษะสูง (War for Talents)
      • 1.1.5 สังคมดิจิทัล (Digital society)
      • 1.1.6 การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 (โควิด-19)
    • 1.2 นัยของสถานการณ์โลกต่อการปรับตัวของประเทศไทย
      • 1.2.1 การเพิ่มขีดความสามารถด้านนวัตกรรมเพื่อออกจากกับดักรายได้ปานกลาง
      • 1.2.2 การรับมือกับผลกระทบของเทคโนโลยีพลิกโฉมฉับพลันของภาคอุตสาหกรรมไทย
      • 1.2.3 การลดความไม่เท่าเทียมทางสังคมและความยากจน
      • 1.2.4 การยกระดับผลิตภาพแรงงาน
      • 1.2.5 การระบาดของโรคโควิด-19 และการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับกำลังแรงงานของประเทศ
      • 1.2.6 ความต้องการกำลังคนของประเทศไทย
    • 1.3 ความสำคัญของการเรียนรู้ตลอดชีวิตในยุทธศาสตร์และแผนระดับชาติ
    • 1.4 แนวคิดด้านการเรียนรู้ตลอดชีวิต
    • 1.5 ความสำคัญของการเรียนรู้ตลอดชีวิต
    • 1.6 การปรับบทบาทของผู้เล่นในระบบนิเวศการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Transformative change of lifelong learning ecosystem)
      • 1.6.1 หน่วยงานภาครัฐ
      • 1.6.2 ภาคเอกชน
      • 1.6.3 หน่วยงานจัดการศึกษาและการเรียนรู้
      • 1.6.4 ภาคประชาชน ชุมชน และประชาสังคม
    • 1.7 เป้าหมายการเรียนรู้ตลอดชีวิต
  • บทที่ 2 : วัตถุประสงค์ กรอบของการศึกษา และวิธีการศึกษา
    • 2.1 วัตถุประสงค์
    • 2.2 กรอบของการศึกษา
    • 2.3 วิธีการศึกษาและแหล่งข้อมูล
  • บทที่ 3 : เด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษา
    • 3.1 สถานการณ์ของเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษา
    • 3.2 สาเหตุที่ทำให้เด็กและเยาวชนหลุดออกจากระบบการศึกษา
    • 3.3 ความต้องการของเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษา
    • 3.4 มาตรการช่วยเหลือเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษาในปัจจุบัน
      • 3.4.1. การจัดการศึกษาเพื่อคุณวุฒิสำหรับเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษา
      • 3.4.2. การจัดการศึกษาเพื่อฝึกอบรมทักษะอาชีพสำหรับเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษา
      • 3.4.3 การสนับสนุนทุนการศึกษา
      • 3.4.4 การสร้างทักษะชีวิต การดูแลความปลอดภัยในชีวิตและสุขภาพ และการสร้างความตระหนักถึง
        คุณค่าของการศึกษา
    • 3.5 ตัวอย่างการสร้างโอกาสด้านการเรียนรู้และอาชีพให้เยาวชนนอกระบบการศึกษา
      • 3.5.1 โรงเรียนพระดาบสและโครงการลูกพระดาบส
      • 3.5.2 มาตรการการพัฒนากำลังคนในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economi Corridor; EEC)
      • 3.5.3 โครงการ Better Me
      • 3.5.4 โครงการโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School)
    • 3.6 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการสร้างโอกาสการเข้าถึงการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพสำหรับเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษา
      • 3.6.1 การพัฒนาเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษา ผ่านการสร้างโอกาสการเข้าถึงการศึกษาและการเรียนรู้
      • 3.6.2 การพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นทางวิชาชีพให้กับบุคลากรที่ทำงานด้านเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษา
      • 3.6.3 การพัฒนาฐานข้อมูลกลางด้านเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษา เพื่อสนับสนุนการทำงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    • 3.7 ตัวอย่างข้อเสนอกลไกการพัฒนาการศึกษาที่เชื่อมโยงกับอาชีพสำหรับเด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่จะไม่ได้ศึกษาต่อและกลุ่มนอกระบบการศึกษา
  • บทที่ 4 : นักศึกษา (Apprentice)
    • 4.1 สถานการณ์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา
    • 4.2 รูปแบบการจัดการศึกษาที่บูรณาการกับการทำงานระดับอุดมศึกษา
    • 4.3 มาตรการส่งเสริมการพัฒนาบัณฑิตฐานสมรรถนะในปัจจุบันและความท้าทาย
    • 4.4 กรณีศึกษาจากต่างประเทศ
      • 4.4.1 Job first, degree included Model ประเทศสหรัฐอเมริกา
      • 4.4.2 Work- Study (Learning) Dual System ประเทศเกาหลีใต้
      • 4.4.3 การพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลให้แก่บัณฑิตตามแนวทางของ IBM Skills Academy
    • 4.5 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการพัฒนาบัณฑิตฐานสมรรถนะ
    • 4.6 ตัวอย่างข้อเสนอกลไกสนับสนุนการพัฒนาบัณฑิตฐานสมรรถนะ
  • บทที่ 5 : กำลังแรงงาน
    • 5.1 สถานการณ์ด้านแรงงาน
      • 5.1.1 สถานการณ์ในภาพรวม
      • 5.1.2 แนวโน้มของกำลังแรงงานนอกระบบ
      • 5.1.3 ผลกระทบของโควิด-19 ต่อภาคเศรษฐกิจและการจ้างงานของไทย
      • 5.1.4 ความท้าทายของกำลังแรงงานไทย
    • 5.2 มาตรการส่งเสริมการพัฒนาความรู้และทักษะให้กับแรงงาน
      • 5.2.1 หลักสูตรเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ
      • 5.2.2 การสนับสนุนทางการเงินเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
      • 5.2.3 การรับรองสมรรถนะอาชีพ
      • 5.2.4 แพลตฟอร์มบริหารจัดการพัฒนาทักษะและการจ้างงาน
      • 5.2.5 ระบบธนาคารหน่วยกิต
      • 5.2.6 พื้นที่สำหรับการเรียนรู้หรือการฝึกปฏิบัติงานตามอัธยาศัย
      • 5.2.7 มาตรการส่งเสริมสวัสดิภาพแรงงาน
      • 5.2.8 มาตรการส่งเสริมการพัฒนาความรู้และทักษะแรงงานในสถานการณ์การระบาดของโควิด-19
    • 5.3 ตัวอย่างแนวปฏิบัติที่ดีของต่างประเทศ
      • 5.3.1 มาตรการพัฒนาทักษะกำลังแรงงาน ประเทศสิงคโปร์
      • 5.3.2 มาตรการพัฒนาทักษะกำลังแรงงาน ประเทศเกาหลีใต้
      • 5.3.3 มาตรการพัฒนาทักษะกำลังแรงงาน ประเทศญี่ปุ่น
      • 5.3.4 ศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตชุมชนบ้านบึง จังหวัดเพชรบูรณ์
    • 5.5 ข้อเสนอแนะนโยบายการพัฒนากำลังแรงงาน
    • 5.6. ตัวอย่างข้อเสนอกลไกการดำเนินงาน
  • บทที่ 6 : ผู้สูงอายุ
    • 6.1 สถานการณ์ด้านสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย
    • 6.2 ความต้องการในการเรียนรู้ของผู้สูงอายุ
      • 6.2.1 การเรียนรู้เพื่อการใช้ชีวิต
      • 6.2.2 การเรียนรู้เพื่อการทำงาน
    • 6.3 ลักษณะการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้สูงอายุ
    • 6.4 มาตรการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับผู้สูงอายุในปัจจุบัน
      • 6.4.1 การจัดการเรียนรู้สำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย
      • 6.4.2 การสนับสนุนทางการเงินสำหรับการเรียนรู้ของผู้สูงวัย
      • 6.4.3 การส่งเสริมการทำงานของผู้สูงวัย
    • 6.5 การส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับผู้สูงอายุในต่างประเทศ
      • 6.5.1 Osher Lifelong Learning Institute (OLLI) สหรัฐอเมริกา
      • 6.5.2 กรอบแนวทางการปรับเปลี่ยนทักษะและการดึงศักยภาพของผู้สูงอายุ ประเทศสิงคโปร์
      • 6.5.3 แหล่งเรียนรู้ระดับท้องถิ่น (Kominkan) ประเทศญี่ปุ่น
    • 6.6 ข้อเสนอแนะการจัดการเรียนรู้และอาชีพให้ผู้สูงวัย
    • 6.7 ตัวอย่างข้อเสนอกลไกการดำเนินงาน
  • บทที่ 7. ข้อเสนอกลยุทธ์การดำเนินงานของมหาวิทยาลัยเฉพาะกลุ่ม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
    • 7.1 กลยุทธ์การดำเนินงานของกลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
      • 7.1.1 บริบทของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
      • 7.1.2 ความต้องการพัฒนาทักษะของสถานประกอบการในพื้นที่
      • 7.1.3 ศักยภาพของกลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
      • 7.1.4 ปัญหาและอุปสรรคการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
      • 7.1.5 ข้อเสนอกลยุทธ์การขับเคลื่อนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของกลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
    • 7.2 กลยุทธ์การดำเนินงานของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ
      • 7.2.1 บริบทและศักยภาพมหาวิทยาลัยราชภัฏ
      • 7.2.2 สถานภาพทรัพยากรมนุษย์
      • 7.2.3 ข้อเสนอกลยุทธ์การขับเคลื่อนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ
    • 7.3 กลยุทธ์การดำเนินงานของกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ
      • 7.3.1 บริบทและศักยภาพของกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ
      • 7.3.2 ข้อเสนอกลยุทธ์การขับเคลื่อนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ
  • บทที่ 8. ภาคผนวก
    • 8.1 บรรณานุกรม
    • 8.2 รายนามคณะทำงาน
    • 8.3 รายนามผู้เชี่ยวชาญที่ให้ความอนุเคราะห์ข้อมูลและข้อคิดเห็น

แนะนำ

ล่าสุด